การดูแลรักษา Clarinet

การดูแลรักษา คลาริเน็ต

คู่มือการดูแลรักษา Clarinet

1. ส่วนประกอบของตัวเครื่อง

การดูแลรักษา คลาริเน็ต

1. ปากเป่า 2. Barrel 3. ข้อต่อบน 4. ข้อต่อล่าง
5. กระเดื่อง 6. ปากแตร 7. ที่รัดปากเป่า 8. คอปากเป่า

2. ข้อควรระวังเป็นพิเศษ

โดยทั่วไป Clarinet ของ YAMAHA ผลิตจากไม้ Granadilla หรือ ในบางรุ่นผลิตจาก พลาสติก (ABS resin)
ส าหรับ รุ่นที่ ผลิตจากไม้นั้นจะง่ายต่อการแตกร้าวหากโดนสภาพอากาศที่มีการเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิและความชื้น
อย่างฉับพลันอยู่เสมอๆ ดังนั้น จึงขอแนะน าวิธี
การดูแลรักษาเครื่อง เพื่อยืดอายุการใช้งานดังนี้
2.1 ไม่ควรทิ้งเครื่องไว้กลางแดดหรือ โดนฝน หรือทิ้งเอาไว้ในที่ที่มีอุณหภูมิสูง (ร้อน) เป็นเวลานาน ๆ
2.2 เช็ดเครื่องให้แห้งทันทีภายหลังใช้เครื่อง
2.3 ส าหรับเครื่องใหม่ การเป่าครั้งแรกไม่ควรใช้เวลานาน พยายามเริ่มต้นในระยะแรกด้วยการใช้เวลาในการเป่าแต่
ละครั้งเท่า ๆ กัน เพื่อให้เนื้อไม้ได้ปรับตัว

3. วิธีประกอบเครื่อง

Eb Clarinet
3.1 ทาขี้ผึ้งส าหรับไม้ก๊อก (Cork Grease) บริเวณข้อต่อส่วนที่เป็นไม้ก๊อกตามรูป
3.2 ประกอบปากแตร และ Barrel เข้ากับตัวเครื่อง
3.3 ประกอบปากเป่าเข้ากับ Barrel

Bb และ A Clarinet
3.4 ประกอบ Barrel เข้ากับข้อต่อบน และ ปากแตรเข้ากับข้อต่อล่าง
3.5 ใช้มือซ้ายจับข้อต่อบน โดยมือขวาจับข้อต่อล่าง ค่อย ๆ หมุนจนประกอบเข้ากันได้สนิท
3.6 ประกอบปากเป่าเข้ากับ Barrel
3.7 ในการประกอบส่วนต่าง ๆ เข้าด้วยกัน พยายามหลีกเลี่ยงไม่ใช้แรงกดกระเดื่องมากจนเกินไป

Alto และ Bass Clarinet
3.8 ใช้มือซ้ายจับข้อต่อบน โดยมือขวาจับข้อต่อล่าง ค่อย ๆ หมุนจนประกอบกันได้สนิท
3.9 เสร็จแล้วประกอบคอปากเป่า และปากแตรเข้ากับตัวเครื่อง
3.10 เฉพาะ Bass Clarinet ให้ประกอบคอปากเป่าเข้ากับข้อต่อบน

Clarinet

ขั้นตอนการประกอบลิ้นเข้ากับปากเป่า
3.11 ประกอบปากเป่าเข้ากับคอปากเป่า
3.12 ประกอบลิ้นเข้ากับปากเป่า โดยให้ปากเป่าเหลื่อมออกมาเล็กน้อย ตามรูปยึดลิ้นด้วยที่รัดปากเป่าให้แน่น

ซึ่งแต่ละเครื่องจะต่างกันดังนี้
4.1 Eb, Bb และ A Clarinet ให้ดึง Barrel (หมายเลข 2) ออกจากข้อต่อบน (หมายเลข 3)
4.2 Alto Clarinet ให้ดึงคอปากเป่า (หมายเลข 8) ออกจากตัวเครื่อง
4.3 Bass Clarinet ให้ดึงคอปากเป่าด้านบน

5. การดูแลรักษาเครื่อง

5.การดูแลรักษาเครื่อง

ทุกครั้งภายหลังจากการใช้เครื่อง ควรปฏิบัติตามขั้นตอนต่อไปนี้


5.1 ถอดลิ้นออกจากปากเป่า เช็ดให้แห้ง เสร็จแล้วเก็บลิ้นเข้ากล่องให้เรียบร้อย
5.2 เช็ดท าความสะอาดปากเป่าให้แห้ง โดยใช้ผ้าหยอดท าความสะอาด (Cleaning Swab) สอดเข้าทางด้านไม้ก๊อก
ตามรูป 5-1
5.3 ถอดชิ้นส่วนต่าง ๆ ออกจากกันเสร็จแล้วท าความสะอาดภายในด้วยการสอดผ้าหยอดท าท าความสะอาด เจ้า
ทางข้อ ต่อบน เช็ดให้แห้งโดยเฉพาะบริเวณข้อต่อที่เป็นไม้ก๊อก รูป 5-2 ส าหรับชิ้นส่วนอื่นก็ให้ปฏิบัติ
เช่นเดียวกัน
5.4 ซับความชื้นออกจากนวม ด้วยการน ากระดาษซับนวม (Cleaning Paper) สอดเข้าระหว่างรูเสียงกับนวม แล้ว
กด แป้นหรือ กระเดื่องของนวมนั้นหลาย ๆ ครั้งจนนวมแห้ง
5.5 เช็ดท าความสะอาดภายนอกด้วยผ้า Polishing cloth, แต่ถ้ากระเดื่องสกปรกมากก็ให้ใช้ผ้าชุบน้ ายา Silver
Polish ท าการขัดคราบสกปรกออก แต่ไม่ควรใช้น้ ายาขัดเงินท าความสะอาดผิวไม้ ส าหรับบริเวณที่ผ้าเข้าไม่
ถึง และบริเวณรูเสียง ให้ใช้ลวดสักหลาด (Tone hole cleaner) ท าความสะอาด ตามรูป 5-3
5.6 น าผ้าหยอดท าความสะอาดมาชุบน้ ามันรักษาเนื้อไม้ (Bore Oil) เพียงเล็กน้อยแล้วสอดเข้าไปในเครื่องหลาย ๆ
ครั้ง ระวังอย่าให้น้ ามันเปื้อนนวม เพราะจะท าให้นวมแห้งและแข็ง น้ ามันรักษาเนื้อไม้จะป้องกันไม่ให้ไม้เกิดการ
แตกร้าว หรือ บิดเบี้ยวได้

5.การดูแลรักษาเครื่อง2